THE ULTIMATE GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Ultimate Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Ultimate Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

ภาพรวมข้างต้นเป็นเหตุให้เราต้องย้อนกลับมาตั้งคำถามว่า การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาของไทยที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และอะไรคือหล่มกับดักที่ทำให้เรายังคงไปไม่ถึงความเสมอภาคที่ควรจะเป็น

ภาพจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียน

General performance cookies are made use of to be aware of and examine The true secret overall performance indexes of the web site which allows in providing a much better person working experience for that guests. Analytics Analytics

ในด้านเนื้อหานำเสนอให้เห็นถึงภาพรวมของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แนวทางและมาตรการการดำเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา จนไปถึงการออกแบบนวัตกรรม เทคโนโลยีและความก้าวหน้าในการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเปราะบางต่างๆ ในสังคม ตลอดจนการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาศักยภาพครูและสถานศึกษาในการรองรับวิกฤติที่เกิดขึ้น

แม้จะเริ่มเข้าเรียนได้เพียงไม่กี่เดือนการเปลี่ยนแปลงก็เกิดขึ้น การเรียนรู้จากหลักสูตร มรภ.รำไพพรรณี สามารถมานำมาทดลองในห้องเรียนได้ทันทีเห็นรีแอคพฤติกรรมนักเรียนจากสิ่งที่ครูได้เรียนมาว่าได้ผลอย่างไร และต้องพัฒนาตรงไหนที่จะสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ตรงกับเนื้อหา และพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคน เป็นห้องเรียนที่ครูได้ทดลองสิ่งที่เรียนมาและสร้างให้เด็กได้เรียนรู้สนุกไปพร้อมกับครู ครูก็เรียนรู้จากนักเรียน และเป็นพื้นที่ที่ทั้งสองฝ่ายได้เรียนรู้ได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันอย่างยั่งยืน 

ยังมีข้อจำกัดด้านความแม่นยำ และไม่รัดกุมมากพอจะตรวจสอบความซ้ำซ้อนของจำนวนนักเรียน ส่งผลให้นานวันเข้า เด็กที่ขึ้นชื่อว่า ‘ยากจน’ ในระบบมีอยู่อย่างล้นหลาม แต่เงินซึ่งถูกแจกจ่ายออกไปกลับอยู่ในมือของคนอื่น เกิดเหตุการณ์ ‘คนจนจริงไม่ได้เงิน ส่วนคนได้เงินไม่ได้จนจริง’

ขอให้ลูกเป็นคนดีก็พอแล้ว…แต่พอจริงหรือ?

การมอบเงินช่วยเหลือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ตรงไปตรงมาและเป็นรูปธรรม ทว่า ในท้ายที่สุดแล้ว หัวใจสำคัญของการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ ย่อมเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนไทย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างการคมนาคม เครือข่ายการสื่อสาร การเติบโตทางเศรษฐกิจและอื่นๆ จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการมอบโอกาสทางการศึกษาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

ภาพประกอบ: พิรุฬพร นามมูลน้อย อดีตนักศึกษาศิลปะ นักลองผิดลองถูกและทาสรักความกระหายในประสบการณ์ใหม่ๆ

ถึงตอนนี้ บางคนอาจตั้งคำถามว่าโรงเรียนเรียนขนาดเล็ก เด็กก็น้อย ทำไมครูต้องเพิ่มจำนวนให้เท่ากับเด็ก? ดร.อารีย์ ให้คำตอบว่าแม้จำนวนเด็กจะน้อย แต่พวกเขาก็เรียนคนละชั้น อายุไม่เท่ากัน นอกจากนี้ครูหลายคนยังมีภาระอื่นๆ นอกจากการสอน ทั้งทำกับข้าว ขับรถรับส่งก็มี บางแห่งยังทำหน้าที่เป็นภารโรง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ครูหนึ่งคนจึงต้องรับภาระค่อนข้างเยอะและยังมีค่าสาธารณูปโภคที่ไม่แตกต่างกับโรงเรียนขนาดใหญ่อื่นๆ อีกด้วย

มุ่งสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาค และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

Report this page